กรมสรรพากร หน่วยงานภาครัฐที่มีความสำคัญหน่วยหนึ่งของประเทศไทย ซึ่งหลาย ๆ คนอาจจะไม่เคยใช้บริการในหน่วยงานนี้ แต่ท่านรู้หรือไม่ว่า เราเกี่ยวข้องกับกรมสรรพากรแทบจะทุกลมหายใจของชีวิต ทุกสิ่งที่เราใช้ ทุกอย่างที่เราซื้อล้วนต้องผ่านหน่วยงานนี้แทบทั้งสิ้น ไม่ว่าจะ ซื้อผักซื้อปลา ซื้อสบู่ 1 ก้อน, ซื้อน้ำ 1 ขวด, ซื้อทิชชู 1 ม้วนก็ต้องผ่านการตรวจสอบจากสรรพากรทั้งนั้น หลายคนคงสงสัยแล้วว่าทำไมมันสำคัญขนาดนั้นเลยหรือ เพราะฉะนั้นแล้วในบทความนี้จะมาแนะนำหน่วยงานดังกล่าวให้ทุกคนได้รับทราบกัน ตรวจสอบยื่นภาษี
สรรพากร คือหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดเก็บเป็นกรมสรรพากร ภาษีทั้งหมดในประเทศ อีกทั้งรวบรวมข้อมูลและเสนอแนะ และการใช้นโยบายทางภาษีอากร เพื่อให้ได้เงินภาษีที่ครบถ้วนตามเป้าหมายอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม เป็นส่วนหนึ่งของระบบกลไกในการพัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาสังคม ละพัฒนาประเทศชาติ โดยจัดให้มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
แรกเริ่มจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงวางแผนปฏิรูปการปกครองในปี 2411-2453 ในช่วงแรกเริ่มเกิดมีปัญหาเรื่องเงินค่าใช้จ่าย เงินเดือนข้าราชการ ค่าใช้สอย เงินสำหรับปลูกสร้างสถานที่ราชการและบ้านพักข้าราชการตามมณฑล กระทรวงพระคลังในสมัยนั้นไม่มีเงินพอจ่าย พระองค์ได้ทรงวางระเบียบกิจการคลังใหม่โดยทรง ให้จัดตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์ขึ้นในปี พ.ศ. 2416 เพื่อเก็บรายได้กรมสรรพากร ภาษีอากรของแผ่นดินมารวมไว้ในที่เดียว ต่อมาจึงยกเป็นกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ มีเสนาบดีประจำต่างหากในปีพ.ศ. 2435 การภาษีอากรก็ได้ทรงปรับปรุงใหม่ โดยแต่งตั้งข้าหลวงคลังไปประจำทุกจังหวัดและทุกมณฑลเพื่อทำหน้าที่เก็บภาษีอากรจากราษฎรโดยตรงแล้วรวบรวมรายได้ทั้งหมดส่งมารวมไว้ ณ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และยังพระราชทานเบี้ยบำนาญแก่ข้าราชการเพื่อเป็นเครื่องเลี้ยงชีพเมื่อรับราชการไม่ได้แล้ว ต่อมาในปี พ.ศ. 2439 พระองค์ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้มีการจัดทำงบประมาณแผ่นดินขึ้นเป็นครั้งแรก อันเป็นแบบฉบับที่จะต้องทำงบประมาณแผ่นดินสืบมาทุกปี ตรวจสอบยื่นภาษี
วิสัยทัศน์ : องค์กรชั้นนำที่จัดเก็บภาษีอย่างโปร่งใสเป็นธรรม ด้วยนวัตกรรมและบุคลากรคุณภาพ เพื่อสร้างเสถียรภาพการคลัง
พันธกิจ : จัดเก็บภาษีตรงเป้า นโยบายตรงกลุ่ม บริการตรงใจ จัดเก็บภาษีอากรให้ได้ตามประมาณการ ยกระดับการให้บริการและสร้างความสมัครใจในการเสียภาษี เสนอนโยบายทางภาษีต่อกระทรวงการคลัง ตรวจสอบยื่นภาษี
กลยุทธ์ : Digital Transformation, Revenue, Innovation, Values, Efficiency
สำหรับภาษีที่บุคคลทั่วไป หรือประชาชนอย่างเรา ๆ ต้องพบเจอนั้นมีหลัก ๆ ทั้งหมด 5 ประเภทด้วยกัน ประกอบไปด้วย
การนำเข้าสินค้า ซึ่งโดยปกติผู้ประกอบการจะเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตรา 7% จากผู้บริโภค โดยกำหนดประเภทกิจการไว้ 3 ประเภทด้วยกัน
จ่ายเงินจะต้องหักจากจำนวนเงินที่จะจ่ายให้ผู้รับเงิน และเอาเงินนั้นไปให้กับรัฐ ฝ่ายผู้รับก็ได้เงินแบบไม่เต็มจำนวน พร้อมกับเอกสาร “หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย” เพื่อเป็นหลักฐานยืนยันเวลาทำเรื่องลดหย่อนภาษี
ทั้งนี้เรื่องเกี่ยวกับภาษีนั้นยังมีมากมายหลายประเภทที่เป็นภาษีเฉพาะ ที่คุณต้องทำการศึกษาและค้นคว้าเพิ่มขึ้นไปอีก หากต้องเกี่ยวข้องกับการจ่ายของภาษีประเภทนั้น ๆ รวมไปถึงรูปแบบการจ่ายของภาษีแต่ละประเภทก็จะแตกต่างกันไปอีก การเตรียมเอกสารที่ล้วนแต่มีความสำคัญแทบทั้งสิ้น เพราะฉะนั้นแล้วหากคุณเป็นเจ้าของธุรกิจ หรือมีส่วนเกี่ยวข้องกับการจ่ายภาษีในแต่ละปีนั้น จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการศึกษาข้อมูลเหล่านี้ เพื่อช่วยให้การทำธุรกิจของคุณเป็นไปได้ราบรื่นไม่มีสะดุดนั่นเอง และนี่คือทั้งหมดของ สรรพากร หน่วยงานที่สำคัญที่คุณควรรู้ คุณสามารถเข้าสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม หรือติดตามข่าวสารที่น่าสนใจเกี่ยวกับสำนักงานสรรพากรได้ที่ www.rd.go.th หรือสำนักงานสรรพากรทั่วประเทศ